หัวใจชายหนุ่ม เป็นนวนิยายร้อยแก้วในรูปแบบของจดหมาย
๑)หัวจดหมาย ตั้งแต่ฉบับที่ ๑ วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖- จนถึงฉบับสุดท้าย วันที่ ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖- จะเห็นว่ามีการเว้นเลขท้ายปี พ.ศ. ไว้
๒)คำขึ้นต้นจดหมาย ทั้ง ๑๘ ฉบับ ใช้คำขึ้นต้นเหมือนกันหมด คือ “ถึงพ่อประเสริฐเพื่อนรัก”
๓)คำลงท้าย จะใช้คำว่า “จากเพื่อน.........” “แต่เพื่อน.......” แล้วตามด้วยความรู้สึกของนายประพันธ์ เช่น “แต่เพื่อนผู้ใจคอออกจะยุ่งเหยิง” (ฉบับที่ ๑๐) มีเพียง ๙ ฉบับเท่านั้น ที่ไม่มีคำลงท้าย
๒)คำขึ้นต้นจดหมาย ทั้ง ๑๘ ฉบับ ใช้คำขึ้นต้นเหมือนกันหมด คือ “ถึงพ่อประเสริฐเพื่อนรัก”
๓)คำลงท้าย จะใช้คำว่า “จากเพื่อน.........” “แต่เพื่อน.......” แล้วตามด้วยความรู้สึกของนายประพันธ์ เช่น “แต่เพื่อนผู้ใจคอออกจะยุ่งเหยิง” (ฉบับที่ ๑๐) มีเพียง ๙ ฉบับเท่านั้น ที่ไม่มีคำลงท้าย
๔)การลงชื่อ ตั้งแต่ฉบับที่ ๑๔ เป็นต้นไป ใช้บรรดาศักดิ์ที่ได้รับพระราชทาน คือ “บริบาลบรมศักดิ์” โดยตลอด แต่ฉบับที่ ๑ –๑๓ ใช้ชื่อ “ประพันธ์”
๕)ความสั้นยาวของจดหมาย มีเพียงฉบับที่ ๑๔ เท่านั้นที่มีขนาดสั้นที่สุด เพราะเป็นเพียงจดหมายที่แจ้งไปยังเพื่อนว่าตนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์
๕)ความสั้นยาวของจดหมาย มีเพียงฉบับที่ ๑๔ เท่านั้นที่มีขนาดสั้นที่สุด เพราะเป็นเพียงจดหมายที่แจ้งไปยังเพื่อนว่าตนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์
จุดประสงค์
1)บอกความเป็นมาและประวัติของผู้แต่งเรื่องหัวใจชายหนุ่มได้
2)อธิบายลักษณะรูปแบบของการเขียนจดหมายได้อย่างเข้าใจ
3ได้รู้ความหมายของแต่จะจดหมายมีข้อคิดที่มีคุณค่าอย่างไรบ้าง
4ได้เรียนรู้ความหมายของศัพท์โบราณ